จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 25 กรกฎาคม - 13 สิงหาคม คศ 2011
ระดับความรุนแรง:
มากช่วงเวลา:
Mon, 2011-07-25 - Sat, 2011-08-13โดยรวมคาดว่าปริมาณจุดดับอาจจะไม่มากกับช่วงก่อนหน้านี้แต่อาจจะมีพายุสุริยะเกิดขึ้น และโลกจะมีความเสียงต่อภัยพิบัติมากเป็นพิเศษในวันที่ 2-6 สิงหาคม ภัยพิบัติน่าจะอยู่ในรูปของสภาพอากาศแปรปรวนเป็นหลัก เช่นน้ำท่วมฉับพลัน แต่ความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวขนาดใหญ่นั้นอยู่ระดับปานกลาง-มาก ความรุนแรงของภัยพิบัติจะเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้งหลังวันที่ 9-14 สิงหาคม ซึ่งคงต้องติดตามเก็บสถิติกันต่อไป
วันที่ 30 กรกฎาคม เวลา ~20 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดาวพุธ และ ดวงอาทิตย์ และ ทางช้างเผือก และ ในเวลา 16-20 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง โลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ - มีความเป็นไปได้ว่าจะเกิดแผ่นดินไหวที่มีนัยสำคัญในวันดังกล่าว
วันที่ 31 กรกฎาคม เวลา 9 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดาวศุกร์ ดวงอาทิตย์ และ ดาวพฤหัส ในแนว 90 องศา ซึ่งคาดว่าจะได้เป็นเปลวพลังงานที่ดวงอาทิตย์มากเป็นพิเศษและอาจจะมีพายุสุริยะเกิดขึ้น อาจจะมีผลกระทบต่อโลก
วันที่ 6 สิงหาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ ในแนว 90 องศา
วันที่ 7 สิงหาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดาวพุธ ดวงอาทิตย์ และ แกเล็คซี่ไตรแอกูลัม ซึ่งจะเป็นการทดลองเก็บสถิติ
วันที่ 9 สิงหาคม เวลา 9 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดาวพุธ ดวงอาทิตย์ และ ดาวพฤหัส ซึ่งคาดว่าจะมีปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ในรูปแบบของพายุสุริยะ หรือ จุดดับเกิดใหม่
วันที่ 13 สิงหาคม เวลา 17 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงจันทร์ โลก และ ดวงอาทิตย์ อาจเป็นช่วงที่พายุสุริยะในวันที่ 9 จะเดินทางมาถึงโลก
เหตุการณ์บนดวงอาทิตย์
วันที่ 24 กรกฎาคม บริเวณ Active region ส่วนมากอยู่บริเวณซีกเหนือ และคาดว่าจะมีปฏิกริยาสูงขึ้นในช่วงวันที่ 30-31 กรกฎาคม และในช่วงวันที่ 7-9 สิงหาคม
วันที่ 22 กรกฏาคม เกิดพายุสุริยะ ออกไปทางด้านหลังไม่โดนโลกซึ่งอาจมีพลังงานส่วนน้อยมที่โลกระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคมเวลา 6 UTC ถึง 27 กรกฎาคม 0 UTC
วันที่ 25 กรกฎาคม เกิดพายุสุริยะขนาดปานกลาง-ใหญ่ ทิศทางมาที่โลก คาดว่าจะเกิดแผ่นดินไหวเกิน 6.2 ริตเตอร์ และสภาพอากาศแปรปรวน ระหว่างวันที่ 29 กรกฎาคม 0 UTC ถึง 31 กรกฎาคม 0 UTC พี้นที่เสียงภัยเป็นพิเศษเป็นประเทศบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกทางฝั่งเอเซีย เหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ในวันนี้ เกิดขึ้นในช่วงที่ไม่มีดาวเคราะห์เรียงตัวในแนวใช้อยู่ และมีความคล้ายคลีงกับเหตุกาณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายเดือนเมษายน ซึ่งเราจะใช้เป็นบรรทัดฐานในการคาดการณ์ในครั้งต่อไป
ในเวลาประมาณ 20 UTC เกิดพายุสุริยะขนาดใหญ่ทิศทางตรงข้ามกับโลก ซึ่งคาดว่าจะมีพลังงานบางส่วนส่งผลกระทบต่อโลกระหว่างวันที่ 29-31 กรกฎาคม ค่ากลางของเวลาของเหตุการณ์อยู่ที่ 30 กรกฎาคม 23 UTC
วันที่ 26 กรกฎาคม มีการขยายตัวของจุดดับ 1260 บวกกับปริมาณ X-ray flare ที่เพิ่มสูงขึ้น จุดดับนี้จะเข้ามาเรียงตัวกับโลกประมาณวันที่ 30 กรกฎาคม และขณะเดียวกัย Coronal Hole ได้มาเรียงตัวกับโลกซึ่งจะส่งลมสุริยะความเร็วสูงมาที่โลกในวันที่ 30 กรกฎาคม
26 กรกฎาคม | 27 กรกฎาคม |
แนวสนามแม่เหล็กเปิด 26 กรกฎาคม
วันที่ 29 กรกฎาคม จุดดับ 1260 มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น และ ปริมาณจุดดับบนดวงอาทิตย์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่วันที่ 25 ทาง NOAA คาดว่าอาจจะมี flare ระดับ X-class เกิดขึ้น
ผลกระทบครั้งนี้คาดว่าจะทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่เกิน 6.5 ริตเตอร์หรือภัยพิบัติเกี่ยวกับน้ำท่วมมาเป็นพิเศษ ในอีกไม่กี่วันข้างหน้า ผู้ที่สนใจด้านการวางแผนจัดการภัยพิบัติโปรดติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ขิด
วัน 30 กรกฎาคม เวลา 2:09 UTC เกิด X-ray flare ระดับ M9 ซึ่งถือว่ามีขนาดใหญ่ แต่พายุสุริยะที่ออกมากับปรากฏการณ์ Flare นั้นมี ไม่มากนัก แต่มีทิศทางมาที่โลกซึ่งคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 2 สิงหาคม ตามที่คาดการณ์เอาไว้ตามทฤษฏีดาวเคราะห์เรียงตัว
วันที่ 2 สิงหาคม เราเริ่มเห็นจุดดับ 1261 และ 1263 เคลื่อนตัวมาเรียงในแนวเดียวกับโลก และมีปริมาณจุดดับมากสุดถึง 130
31 กรกฎาคม #101 | 1 สิงหาคม #128 | 2 สิงหาคม #130 |
เวลา 6:19 UTC เกิดพลังงาน X-ray ระดับ M1 และเกิดพายุสุริยะขนาดใหญ่ และมีพลังงานบางส่วนมาทางโลก ซึ่งคาดว่าโลกจะได้รับผลกระทบระหว่างวันที่ 4-5 สิงหาคม พี้นที่ๆ เสี่ยงภัยมากเป็นพิเศษได้แก่บริเวณ เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก ลองลงมาจะเป็นประเทศบริเวณตะวันออกกลางหรือยุโรป และ ทวีปแอฟริกา จากการคำนวณโดยละเอียดพบว่าหน้าคลื่นของพายุสุริยะจะมาถึงประมาณวันที่ 4 สิงหาคม เวลา 11 UTC +/- 7 ชั่วโมง มวลหลักของพายุสุริยะจะมาถึงประมาณวันที่ 5 สิงหาคม เวลา 20 UTC +/- 14 ชั่วโมง ทางนาซ่าคาดว่าว่าจะถึงประมาณ เวลา 3 UTC +/- 7 ชั่วโมง
วันที่ 3 สิงหาคม เวลา 4:09 และ 14:39UTC เกิดการระเบิดขนาดใหญ่ที่ดวงอาทิตย์ทิศทางมาที่โลก คาดว่าจะส่งผลกับโลกในวันที่ 5-6 สิงหาคม พี้นที่เสียงภัยหลักยังเป็นบริเวณประเทศอินโดนีเซีย หรือ ประเทศบริเวณมหาสมุทร์แปซิฟิก
และยังส่งพลังงาน X-ray ระดับ M6 ออกมา
วัน 4 สิงหาคม เวลา 4: 40 UTC เกิดเหตุระเยิดที่ดวงอาทิตย์อย่างรุนแรง รอบทิศทาง พลังงานส่วนใหญ่มาที่โลกคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อโลกอย่างรุนแรง ระหว่างวันที่ 5-7 6-8 สิงหาคม โดยพลังงานนี้จะเคลื่อนที่ผ่านโลกระหว่าง 5 สิงหาคม เวลา 8 UTC ถึง 6 สิงหาคม เวลา 8 UTC ประชาชนที่อยู่ในพี้นที่เสี่ยงต่อภัยพิบัติในช่วงสัปดาห์ก่อนอาจต้องเตรียมรับมือมากเป็นพิเศษ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบเหตุฉุกเฉินโปรดติตตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด พี้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวมากเป็นพิเศษได้แก่ประเทศอินโดนีเซีย และ ประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ หรืออาจมีพี้นที่อืนๆซึ่งอาจจะเป็นภัยธรรมชาติรูปแบบอื่น
เนื่องจากความเร็วของมวลมีการกระจายตัวสูงจึงมีการคลาดเคลื่อนของเวลาที่มาถึงโลกได้ จากการคำนวณความเร็วของพายุสุริยะครั้งนี้ คาดว่า ส่วนความเร็วสูงโดยเฉลี่ยจะมาถึงในวันที่ 6 สิงหาคม เวลาประมาณ 3 UTC และมวลหลักของพายุนี้จะมาถึงระหว่างวันที่ 8-9 สิงหาคมซึ่งยังเป็นช่วงเวลาที่เสี่ยงสูงต่อภัยพิบัติ
ความเร็วของพายุสุริยะเทียมกับมุมที่ออกมารอบดวงอาทิตย์
วันที่ 6 สิงหาคม มีแนวสนามแม่เหล็กเปิดเข้ามาเรียงตัวกับโลกซี่งจะส่งลมสุริยะความเร็วสูงมาถึงโลกประมาณวันที่ 8-9 สิงหาคม ในวันที่ 7 สิงหาคม แนวสนามแม่เหล็กเปิดได้ลดขนาดลงอย่างมากและส่งผลกระทบต่อโลกเพียงเล็กน้อย
5 สิงหาคม | 7 สิงหาคม |
วันที่ 9 สิงหาคม เกิดเหตุระเบิตขนาดใหญ่ระดับ X7 ด้านเดียวกับโลก แต่ไม่ตรงกับโลกมากนัก คาดว่าจะส่งผลกระทบกับโลก ระหว่างวันที่ 11-13 สิงหาคม
จากการคำนวณความเร็วของพายุสุริยะครั้งนี้พบว่ามีความเร็วเฉลี่ย 1008 กิโลเมตร ต่อวินาที พลังงานจะมาถึงโลกประมาณวันที่ 11 สิงหาคม เวลา 1:27 UTC (ค่ากลาง) +/- 5 ชั่วโมง และจะมาถึงอย่างเร็วในวันที่ 10 สิงหาคม เริ่มประมาณ 19 UTC มวลส่วนที่เดินทางช้าจะมาถึงประมาณวันที่ 12 เวลาประมาณ 19 UTC
วันที่ 11 สิงหาคม เกิดพายุสุริยะ มีพลังงานบางส่วนมาที่โลก คาดว่าจะส่งผลกระทบกับโลกในวันที่ 13-15 สิงหาคม ค่ากล่างอยู่ที่เวลา 0 UTC ของวันที่ 13 สิงหาคม บริเวณบนโลกที่น่าจะได้รับผลกระทบมากที่สุดได้แก่ประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก
ตารางสรุปเหตุการณ์และการคาดการณ์ด้วยปฏิกริยาดวงอาทิตย์
วันที่ | เหตุการณ์ที่ดวงอาทิตย์ | ระดับความรุนแรง | ช่วงเวลาที่ส่งผลต่อโลก | ความเสียงต่อภัยพิบัติ |
20 กค 22 กค 25 กค 26 กค 27 กค. 28 กค 29 กค 30 กค 2 สค 3 สค 4 สค 5 สค 7 สค 8 สค 9 สค 11 สค 12 สค | พายุสุริยะ 20 UTC ด้านตรงข้ามโลก พายุสุริยะ 1:18 UTC ด้านเดียวกับโลก X-ray C3 22:41 UTC X-ray M12:25 UTC พายุสุริยะ 22 UTC ด้านตรงข้ามโลก X-ray M9 2:09 UTC และพายุสุริยะ 14 UTC พายุสุริยะ 4:09 UTC และ 14:40UTC ด้านเดียวกับโลก พายุสุริยะ 9 UTC ด้านตรงข้ามโลก พายุสุริยะ 17:54 UTC ด้านเดียวกับโลก พายุสุริยะ 19 UTC ด้านเดียวกับโลก X-ray M3 พายุสุริยะ 9 UTC ด้านเดียวกับโลก X-ray X7 พายุสุริยะ 12 UTC ด้านเดียวกับโลก พายุสุริยะ 8 UTC ด้านเดียวกับโลก | ปานกลาง-มาก ปานกลาง ปานกลาง-มาก มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก มาก มาก มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก | 24-25 กค 25, 29-31 กค 26 กค 30 กค -2 สค 27 กค 31-1 กค 31-2 กค 2-3 สค - 10-11 สค 8 สค 11-13 สค 9 สค 13-15 สค 18-19 สค | ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง-มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก มาก มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก ปานกลาง-มาก |
เหตุการณ์บนโลก
25 กรกฎาคม
- มีการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นประจุอย่างฉับพลัน และ พลังงานอิเล็คตรอนลดลงอย่างฉับพลันในเวลา 0:50 UTC
- แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริตเตอร์ที่ปาปัวนิวกีนี เวลา 0:50 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=230108
- เวลา 16 UTC เกิดพายุสองลูกในบริเวณมหาสมุทร์แปซิฟิก http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=607
- สนามแม่เหล็กโลกแปรปรวนเป็นพิเศษในเวลา 4-12 UTC
- แผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริตเตอร์ ที่ประเทศฟิลิปปินส์ เวลา 17:15 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=230179
- เกิดพายุหิมะที่ประเทศนิวซ๊แลนด์ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20110725-31724-NZL
- สัญญาณดาวเทียม ACE ขาดหายระหว่าง 20-24 UTC
26 กรกฎาคม
- เกิดการเปลี่ยนแปลงของลมสุริยะและประจุไฟ้ฟ้าอย่างฉับพลันประมาณ 0-8 UTC และสัญญาณขาดหายในเวลา 14-18 UTC
- แผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริตเตอร์ เวลา 17:44 UTC ที่รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา http://earthquake.usgs.gov/earthquakes/recenteqsww/Quakes/usc00054fu.php
- น้ำท่วมในประเทศ ไนจีเรีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20110726-31735-NGA
- น้ำท่วมฉับพลันในประเทศปากีสถาน http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20110726-31743-PAK
- พายุหิมที่ประเทศอัฟริกาใต้ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=SS-20110726-31741-ZAF
27 กรกฎาคม
- ดินถล่มที่ประเทศเกาหลี http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=LS-20110727-31748-KOR
- ข่าวสหรัฐซ้อมรบในเมืองบอสตัน สหรัฐอเมริการะหว่างวันที่ 26 กรกฎาคม ถึง 5 สิงหาคม http://www.zerohedge.com/news/it-time-again-military-conducting-training-exercises-and-around-boston
28 กรกฎาคม
- เวลา 4 UTC เกิดพายุในบริเวณอ่าวเม็คซิโก http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=609
29 กรกฎาคม
- มีการเปลี่ยนแปลงของความหนาแน่นประจุไฟฟ้านอกโลกอย่างฉับพลันในเวลา 4 UTC บ่งบอกว่าแนวหน้าของพายุสุริยะจากวันที่ 25 มาถึงโลก
- แผ่นดินไหวขนาด 6.6 ริตเตอร์บริเวณเกาะ ฟิจิ http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=230616
- เกิด Heatwave ที่ประเทศรัสเซีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=HT-20110727-31761-RUS
30 กรกฎาคม
- ความหนาแน่นประจุไฟฟ้านอกโลกยังเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องบ่งบอกว่ามวลหลักของพายุสุุริยะมาถึงโลกอย่างเป็นทางการ
- น้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศเกาหลีเหนือ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FL-20110730-31792-PRK
- น้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศญี่ปุ่น http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FL-20110730-31791-JPN
- รายงานระบบไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันที่ประเทศนิวซีแลนด์ http://www.stuff.co.nz/national/5365847/Power-surge-sets-off-alarms-in-Hastings
- เกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าที่เมืองซิดนี่ย์ ประเทศออสเตรเลีย ส่งผลกระทบต่อระบบการบิน http://www.stuff.co.nz/travel/australia/5364807/Power-cut-causes-Sydney-flight-delays
- แผ่นดินไหวขนาด 6.4 ริตเตอร์ ที่ประเทศญี่ปุ่น เวลา 18:53 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=230771
- เกิดพายุสนามแม่เหล็กไฟฟ้าบริเวณขั้วโลกเหนือเวลาประมาณ 20 UTC
31 กรกฎาคม
- พลังงานอิเล็คตรอนนอกโลกลดลงอย่างฉับพลันในเวลา 0-10 UTC
- แผ่นดินไหวขนาด 6.2 ริตเตอร์ ที่ Vunuatu ในเวลา 14:34 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=230856
- เกิด พายุที่ยูกันดา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=HS-20110731-31805-UGA
- พายุุก่อตัวบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออก http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=610
- รายงานการเกิดทอร์นาโดที่ประเทศรัสเซีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=TO-20110731-31808-RUS
- แผ่นดินไหวขนาด 6.8 ริตเตอร์ เวลา 23:38 UTC ที่ประเทศปาปัวนิวกีนี http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=230907
- ภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศอิตาลี http://www.washingtonpost.com/national/health-science/mt-etna-volcano-erupts/2011/07/31/gIQAW9dGmI_video.html
1 สิงหาคม
- โลกได้รับลมสุริยะความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม
- แผ่นดินไหวขนาด 6.0 ริตเตอร์ ที่ประเทศญี่ปุ่น ในเวลา 14:58 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=230997
- เกิด Heatwave ที่ประเทศอิรัค http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=HT-20110801-31815-IRQ
- พายุ Emily ก่อตัวบริเวณทะเลคาริเบียน http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=611
2 สิงหาคม
- น้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศชิลี http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20110802-31830-CHL
- สภาพความแห้งแล้งที่ประเทศจีน http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_desc&edis_id=DR-20110802-31828-CHN
3 สิงหาคม
- ความหนาแน่นประจุไฟฟ้านอกโลกเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลันในเวลาประมาณ 18 UTC คาดว่าเป็นแนวหน้าของพายุสุริยะจากวันที่ 2 สิงหาคม
- พายุก่อตัวในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=612
- เหตุไฟฟ้าดับที่รัฐอาลาสกา สหรัฐอเมริกา http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=PW-20110803-31835-USA
4 สิงหาคม
- พลังงานอิเล็คตรอนนอกโลกเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก หลังจากมีการระเบิดที่ดวงอาทิตย์
- แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริตเตอร์ เวลา 13:51 UTC บริเวณขั้วโลกเหนือ http://www.emsc-csem.org/Earthquake/index.php
- น้ำท่วมที่ประเทศอังกฤษ
- ความหนาแน่นประจุไฟฟ้านอกโลกเพิ่มขึ้นอีกครั้งในเวลาประมาณ 22 UTC
5 สิงหาคม
- เวลา 10 UTC พายุสุริยะจากวันที่ 2 สิงหาคม มาถึงโลกอย่างเป็นทางการแต่ความหนาแน่นประจุไฟฟ้าที่ตรวจพมมีไม่มากนัก คาดว่าเป็นแนวหน้าของพายุสุริยะ ในเวลา 18 UTC แนวพายุสุริยะหลักเข้ามากระทบโลก
- แผ่นดินไหวขนาด 5.7 ริตเตอร์ที่ใกล้ประเทศนิวซีแลนด์ http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=231440
- เกิดพายุสนามแม่เหล็กไฟฟ้าระดับ 8
- รายงานสถานการณ์นอกโลกจาก NOAA
- ปริมาณรังสีคอสมิกลดลงอย่างฉับพลัน
- น้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศจีน http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=FF-20110805-31862-CHN
- มีปฏิกริยาลาวาที่เกาะในฮาวาย http://www.irishweatheronline.com/news/earthquakesvolcanos/rivers-of-lava-flow-from-hawaiis-kilauea-volcano/29842.html
- เกิดเหตุการณ์สภาพอากาศแปรปรวนที่โดมินิกัน http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=ST-20110806-31865-DOM
6 สิงหาคม
- พลังงานโปรตรอนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- แผ่นดินไหวขนาด 5.5 ริตเตอร์ที่อินโดนีเซีย เวลา 2:45 UTC http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=231468
- แผ่นดินถล่มที่ประเทศอินเดีย http://timesofindia.indiatimes.com/city/guwahati/Landslide-wreaks-havoc-cuts-off-Arunachal-capital-from-rest-of-state/articleshow/9510470.cms
- พายุเข้าที่ประเทศเฮติ http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/centralamericaandthecaribbean/haiti/8680639/Haitian-tent-cities-brace-for-huge-tropical-storm.html
- ภูเขาไฟ 18 แห่งในอินโดนีเซียอยู่ในสถานะตื่นตัว http://www.thejakartapost.com/news/2011/08/07/18-indonesian-volcanoes-alert-status.html
- ทางการจีนเตรียมอพยพประชาชนกว่า 2 แสนคนออกจากพี้นที่เสี่ยงภัยใต้ฝุ่น Muifa http://www.independent.co.uk/news/world/asia/200000-evacuated-as-china-braces-for-typhoon-muifa-2332922.html
8 สิงหาคม
- ภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศอินโดนีเซีย http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_desc&edis_id=VE-20110808-31881-IDN
9 สิงหาคม
- แผ่นดินไหวขนาด 5.7 ริตเตอร์ เวลา 0:53 UTC ที่ประเทศปากีสถาน http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=231836
- พายุก่อตัวบริเวณทะเลประเทศฟิลิปปินส์ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/read/index.php?pageid=tstorm_read&trid=613
10 สิงหาคม
- เกิดสภาพอากาศแปรปรวนที่ประเทศเกาหลีเหนือ http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_summary&edis_id=TC-20110810-31905-PRK
- รายงานสภาพอากาศร้อนจัดที่รัฐเทคซัส สหรัฐอเมริกา http://www.dailymail.co.uk/news/article-2023744/US-heatwave-causes-train-derail-amid-fears-100F-plus-temperatures-warped-tracks.html#ixzz1UYIuJ4mG
- แผ่นดินไหวขนาด 5.7 ริตเตอร์ เวลา 23:45 UTC บริเวณมหาสมุทร แอตแลนติก http://earthquake.usgs.gov/earthquakes/recenteqsww/Quakes/usc0005c2f.php#maps
- ภูเขาไฟบริเวณรัฐอาลาสกา เริ่มประทุ http://www.irishweatheronline.com/news/earth-science/geology/volcano/alaskas-cleveland-volcano-erupts/31362.html
- พบปลาวาฬเกยตื้นที่ประเทศอังกฤษ http://news.mthai.com/world-news/126224.html
- มีรายงานจาก นาซ่าเกี่ยวกับฝนดาวตกที่กำลังจะเกิดสูงสุดในวันที่ 11 สิงหาคม http://science.nasa.gov/science-news/science-at-nasa/2011/09aug_perseids2011/
- แผ่นดินไหว 5.8 ริตเตอร์ เวลา 23 45 UTC บริเวณมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งเกิดในช่วงเวลาที่พลังงานพายุสุริยะจากวันที่ 9 มาที่โลกตามที่คำนวณไว้http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=231901
- เกิดหลุมยุบที่ประเทศอิตาลี
วันที่ 11 สิงหาคม
- รายงานปริมาณฝนดาวตกเพิ่มขึ้นสูงสุดประมาณวันที่ 8-9 สิงหาคม http://www.imo.net/live/perseids2011/
- เวลา ประมาณ 18-20 UTC พบความหนาแน่นประจุมีค่าสูงขึ้น บ่งบอกถึงพลังงานจากพายุสุริยะในวันที่ 9 มากระทบโลกอย่างเป็นทางการ
- เวลา 18:22 UTC เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริตเตอร์ ที่ประเทศญี่ปุ่น http://www.emsc-csem.org/Earthquake/earthquake.php?id=231979
- เกิดพายุขนาดใหญ่ที่ประเทศแคนาดา มีฟ้าฝ่า 400 ครั้งภายในไม่กี่ชั่วโมง http://www.cbc.ca/news/canada/british-columbia/story/2011/08/11/bc-kelowna-storm.html
*- ภูเขาไฟระเบิดที่รัฐอลาสกา สหรัฐอเมริกา http://www.reuters.com/article/2011/08/11/us-alaska-volcano-idUSTRE77978Z20110811
- เกิดคลื่นทะเลขนาดใหญ่กระทบชายฝั่งประเทศชิลี http://www.americatv.com.pe/portal/noticias/nacional/fuerte-oleaje-en-sur-y-norte-chico-provoca-inundaciones-y-perjudica-pescadores-artesanales
12 ตุลาคม
- รายงานน้ำท่วมฉับพลันที่ประเทศปากีสถานทำให้มีผู้เสียชีวิต 21 คน http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/?pageid=event_desc&edis_id=FF-20110812-31929-PAK
ขอขอบคุณ www.truth4thai.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น